Phang Gna Bay : อ่าวพังงา
ยุทธศาสตร์ภูมิทัศน์เพื่อเสริ มสร้างความสามารถในการตั้งรับปรับตัวเชิงสังคม เศรษฐกิจ และนิเวศ ภูมิทัศน์อ่าวพังงา ประเทศไทย
ภูมิทัศน์อ่าวพังงาอยู่ในชายฝั่งทะเลอันดามันหรือชายฝั่งทะเลภาคใต้ฝั่งตะวันตกของประเทศไทย มีพื้นที่เชื่อมโยงระหว่างจังหวัดกระบี่ จังหวัดพังงา และจังหวัดภูเก็ต และมีชุมชนชาติพันธุ์ชาวเลดั้งเดิมคือมอแกน มอแกลน และอูรักราโว้ย อาศัยอยู่ที่จังหวัดกระบี่และจังหวัดภูเก็ต
ภูมิทัศน์อ่าวพังงาประกอบด้วยพื้นที่ชายฝั่ง ชายหาด เกาะ หญ้าทะเล ป่าชายเลน คลองและแม่น้ําที่ เชื่อมต่อจากภูเขาถึงทะเล จึงมีความหลากหลายทางชีวภาพสูง เป็นพื้นที่ชุ่มน้ําที่มีความสําคัญทั้งระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ และระหว่างประเทศ เช่น พนื้ ที่ชุ่มน้ําปากแม่น้ํากระบี่ เป็นต้น เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของพะยูน โลมา เต่าทะเล ด้านเศรษฐกิจเป็นฐานทรัพยากรสําคัญของการท่องเที่ยวฝั่งอันดามันซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยว ระดับโลก เช่น เกาะลันตา เกาะพีพี เกาะยาว เกาะภูเก็ต เป็นต้น เป็นแหล่งทําการประมงอันเป็นอาชีพหลัก ของชุมชนชายฝั่ง รวมทั้งเป็นแหล่งอาหาร รายได้เสริมของชุมชน ชุมชนชายฝั่งอ่าวพังงาได้รับผลกระทบจาก การแพร่ระบาดของโควิด ๑๙ ส่งผลให้ต้องปิดการท่องเที่ยวอันดามันในช่วงฤดูกาลท่องเที่ยวเดือนมีนาคม ถึง มิถุนายน ๒๕๖๓ รวมถึงสถานการณ์ที่จะไม่มีนักท่องเที่ยวต่างประเทศเดินทางมาท่องเที่ยวตลอดปี ๒๕๖๓ ต่อเนื่องถึงอย่างน้อยกลางปี ๒๕๖๔ เป็นผลให้ชุมชนซึ่งประกอบอาชีพการท่องเที่ยวและเศรษฐกิจที่ตอ่ เนื่อง จากการท่องเที่ยวตกอยู่ในภาวะถดถอย คนในชุมชนชายฝั่งได้ปรับอาชีพมาทําการประมงและเก็บหาอาหาร จากทะเล ฐานทรัพยากรธรรมชาติในทะเลจึงเป็นเสมือนพื้นที่รองรับสภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจของชุมชน เป็นบริการของระบบนิเวศที่เป็นฐานสําคัญของชีวิต
เป้าหมายระยะยาวของภูมิทัศน์อ่าวพังงาคือการเสริมสร้างความสามารถในการตั้งรับปรับตัวทางสังคม เศรษฐกิจ และระบบนิเวศโดยชุมชนเป็นฐาน และมียุทธศาสตร์ร่วมของชุดโครงการ คือ การอนุรักษ์ฟื้นฟู ระบบนิเวศให้มีความสมดุล การเสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน เศรษฐกิจและสังคมที่เป็นธรรม คํานึงถึงทุกกลุ่ม คน และการมีส่วนร่วมของหญิงชาย ประกอบด้วยโครงการขนาดเล็กและโครงการเชิงยุทธศาสตร์
โครงการขนาดเล็กเป็นการดําเนินงานโดยชุมชนและองค์กรพัฒนาเอกขนในท้องถิ่น ซึ่งดําเนินงานกับ กลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มชุมชนในภูมิทัศน์ยอ่ ยที่สําคัญของภูมิทัศน์อ่าวพังงา ประกอบด้วย กลุ่มชุมชนในหมู่ เกาะลันตา กลุ่มชุมชนอ่าวศรีบอยา กลุ่มชุมชนในพื้นที่ชายฝั่งของบริเวณก้นอ่าวพังงาเขตจังหวัดกระบี่และ จังหวัดพังงา กลุ่มชุมชนหมู่เกาะยาวกลางอ่าวพังงา กลุ่มชุมชนในเกาะภูเก็ต และชายฝงั่ ทะเลด้านอันดามันซึ่ง เป็นพื้นที่วางไข่ของเต่าทะเลรวม ๘ นิเวศยอ่ ยที่สําคัญในภูมิทัศน์อ่าวพังงา นอกจากนี้จะมีการดําเนินงานกับ กลุ่มเป้าหมายเฉพาะคือการส่งเสริมบทบาทหญิง-ชาย และชุมชนชาวเล โดยโครงการขนาดเล็กแต่ละโครงการ จะดําเนินงานคลอบคลุม ๔ ด้านคือ การเพิ่มขีดความสามารถของระบบนิเวศบริการ การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน การพัฒนาอาชีพที่หลากหลาย และการเสริมสร้างระบบการบริหารจัดการที่เป็นธรรม
โครงการเชิงยุทธศาสตร์เชื่อมโยงการทํางานของโครงการขนาดเล็กคลอบคลุมแผนงานการเสริมสร้าง เครือข่ายความร่วมมืออ่าวพังงา การขับเคลื่อนกฎหมายและนโยบาย การพัฒนาธุรกิจชุมชนโดยความร่วมมือ ระหว่างชุมชนกับภาคธุรกิจในท้องถิ่น การพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรม
ด้านผลลัพธ์และตัวชี้วัดของโครงการสามารถบรรลุผลตามกรอบเป้าหมายและผลลัพธ์ของการ ดําเนินงานโครงการ GEF SCG สําหรับรอบทุนที่ ๖ ในประเทศไทย ภายใต้ยุทธศาตสร์การเสริมสร้าง ความสามารถในการตั้งรับปรับตัวของพื้นที่ระดับภูมิทัศน์เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนและการปกป้องสิ่งแวดล้อมโลก
ภูมิทัศน์อ่าวพังงาอยู่ในชายฝั่งทะเลอันดามันหรือชายฝั่งทะเลภาคใต้ฝั่งตะวันตกของประเทศไทย มี พื้นที่เชื่อมโยงระหว่างจังหวัดกระบี่ จังหวัดพังงา และจังหวัดภูเก็ต
ขอบเขตพื้นที่ส่วนที่อยู่ในจังหวัดกระบี่ประกอบด้วย บริเวณปากอ่าวพังงาด้านทิศใต้มี เกาะลันตาใหญ่ เกาะลันตาน้อย เกาะกลาง อําเภอเกาะลันตา บริเวณด้านในของอ่าวประกอบด้วยชายฝั่งและเกาะในอําเภอ คลองท่อม กลมุ่ เกาะศรีบอยา อําเภอเหนือคลอง เกาะกลาง อําเภอเมือง ชายฝั่งอําเภออ่าวลึก
ขอบเขตพื้นที่ส่วนที่อยู่ในจังหวัดพังงา ซึ่งเป็นบริเวณก้นอ่าวพังงาประกอบด้วย ชายฝั่งและเกาะใน อําเภอทับปุด อําเภอเมือง อําเภอตะกั่วทุ่ง
ขอบเขตพื้นที่ส่วนที่อยู่ในจังหวัดภูเก็ต ซึ่งเป็นบริเวณปากอ่าวด้านทิศเหนือประกอบด้วยอําเภอถลาง อําเภอเมือง และเนื่องจากอ่าวพังงามีระบบนิเวศที่เชื่อมโยงกับทะเลอันดามันเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของเต่าทะเล ซึ่งเชื่อมโยงกับพนื้ที่วางไข่ของเต่าทะเลด้านทะเลอันดามันบริเวณเกาะภูเก็ตและชายฝั่งจังหวัดพังงาการ สัมมนาผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ฟื้นฟูภูมิทัศน์อ่าวพังงาจึงมีความเห็นร่วมกันว่า ควรขยายขอบเขตพื้นที่ อ่าวพังงาให้เชื่อมโยงกับพื้นที่วางไข่ของเต่าทะเลในพื้นที่หาดไม้ขาว ตําบลหาดไม้ขาว อําเภอถลาง จังหวัด ภูเก็ต บ้านทับยาง ตําบลท้ายเหมือง บ้านทา่ ดินแดง ตําบลลําแก่น บ้านคึกคัก ตําบลคึกคัก อําเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
ภูมิทัศอ่าวพังงามีชนเผ่าทะเลดั้งเดิมที่ควรให้ความสําคัญเปน็ การเฉพาะประกอบด้วย มอแกน มอแลน และอูรักราโว้ย ซึ่งอาศัยอยู่ทจี่ ังหวัดกระบี่ และจังหวัดภูเก็ต
๑.๒ ลักษณะสําคัญ ประเด็นปัญหา และจุดแข็งหรือต้นทุนของภูมิทัศน์อ่าวพังงา
ภูมิทัศน์อ่าวพังงาประกอบด้วยพื้นที่ชายฝั่ง ชายหาด เกาะ หญ้าทะเล ป่าชายเลน คลองและแม่น้ําที่ เชื่อมต่อจากภูเขาถึงทะเล จึงมีความหลากหลายทางชีวภาพสูง เปน็ พื้นที่ชุ่มน้ําที่มีความสําคญั ทั้งระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ และระหว่างประเทศ เช่น พนื้ ที่ชุ่มน้ําปากแม่น้ํากระบี่ เป็นต้น เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของพะยูน โลมา เต่าทะเล ด้านเศรษฐกิจเป็นฐานทรัพยากรสําคัญของการท่องเที่ยวฝั่งอันดามันซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยว ระดับโลก เช่น เกาะลันตา เกาะพีพี เกาะยาว เกาะภูเก็ต เป็นต้น เป็นแหล่งทําการประมงอันเป็นอาชีพหลัก ของชุมชนชายฝั่ง รวมทั้งเป็นแหล่งอาหาร รายได้เสริมของชุมชน ดังจะเห็นได้จากสถานการณ์การแพรร่ ะบาด ของโควิด ๑๙ ส่งผลกระทบให้ต้องปิดการท่องเที่ยวอันดามันในช่วงฤดูกาลท่องเที่ยวเดือนมีนาคม ถึงมิถุนายน
๒๕๖๓ รวมถึงสถานการณ์ทจี่ ะไม่มีนักท่องเที่ยวต่างประเทศเดินทางมาท่องเที่ยวตลอดปี ๒๕๖๓ ต่อเนื่องถึง อย่างน้อยกลางปี ๒๕๖๔ เปน็ ผลให้ชุมชนซึ่งประกอบอาชีพการท่องเที่ยวและเศรษฐกจิ ที่ต่อเนื่องจากการ ท่องเที่ยวตกอยู่ในภาวะถดถอย คนในชุมชนชายฝั่งไดป้ รับอาชีพมาทําการประมงและเก็บหาอาหารจากทะเล ฐานทรัพยากรธรรมชาติในทะเลจึงเป็นเสมือนพื้นที่รองรับสภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจของชุมชน เป็นบริการ ของระบบนิเวศที่เป็นฐานสําคัญของชีวิต
ในอดีตอ่าวพังงาเคยประสบปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติจากการที่รัฐไทยให้ สัมปทานทําไมป้ ่าขายเลน การทําการประมงด้วยเครื่องมือประมงที่กวาดจับสัตว์น้ําและทําลายแหล่งหญ้า ทะเล ปะการัง ต่อมามีการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวซึ่งเติบโตอย่างรวดเร็วจนส่งผลกระทบต่อการบุกรุก ครอบครองพื้นที่ป่าพื้นทที่ะเลและการทําลายปะการัง
ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคมของชุมชนชายฝั่ง ชุมชนจึงได้มีการรวมกลุ่มกันอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าชายเลน หญา้ ทะเล รณรงคใ์ ห้ยกเลิกการสมั ปทานไม้ป่าชายเลน การปรับเปลี่ยนเครื่องมือและวิธีการทําการประมงเป็นการประมงที่มีความรับผิดชอบและยั่งยืน การขยายพื้นที่ อ่าวพังงาและเขตการประมงชายฝั่งตามกฎหมายการประมงเพื่อคุ้มครองทรัพยากรทางทะเล ต่อมาเมื่อประสบ ภัยจากคลื่นยักษ์สึนามิชุมชนที่ได้รับความเสียหายได้มีการรวมกลุ่มจัดทําแผนและดําเนินการฟื้นฟูชุมชนที่ ได้รับผลกระทบจากสึนามิ ด้วยเหตุนี้ ชุมชนชายฝั่งในอ่าวพังงาจึงมีประสบการณ์ที่สําคัญในการอนรุ ักษ์ฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติ การประสานความร่วมมือกับส่วนราชการ ภาคีการพัฒนา การรณรงค์ด้านกฎหมายและ นโยบาย การรวมกลุ่มในการพัฒนาอาชีพ และมีองค์กรพัฒนาเอกชนในระดับท้องถิ่นที่ทํางานด้านการพัฒนา การอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติมาอย่างต่อเนื่อง คนและองค์กรเหล่านี้เป็นต้นทุนสําคัญในการดําเนินงาน โครงการในครั้งนี้ นอกจากนี้ในการดําเนินโครงการครั้งนี้ได้มีการประสานนักธุรกิจซึ่งเป็นกลุ่มธุรกิจในท้องถิ่น ซึ่งมีแนวคิดด้านการพัฒนาที่ยั่งยืน และการสร้างความเป็นธรรมในการพฒั นา เข้าร่วมในการขับเคลื่อนภูมิทัศน์ อ่าวพังงา และการยกระดับต่อยอดการพัฒนาธุรกิจร่วมกับชุมชนทั้งด้านการท่องเที่ยว การเพิ่มมูลค่าและ คุณภาพอาหารทะเล การแปรรูผลิตภัณฑ์ชุมชน
ในช่วงมีนาคม ๒๕๖๓ ถึงปัจจุบันและคาดว่าจะมีความต่อเนื่องไปถึงอย่างน้อยกลางปี ๒๕๖๔ ชุมชน ประสบกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด ๑๙ ส่งผลให้เศรษฐกิจด้านการท่องเที่ยวถดถอยอย่างรุนแรง โดยเฉพาะเกาะภูเก็ตกับกระบี่ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวจากต่างประเทศ ชุมชนมีการปรับตัวจาก การพึ่งพาเศรษฐกิจท่องเที่ยวมาสู่การประมงและการพึ่งพิงอาหารที่เก็บหาจากทะเลและชายฝั่ง ภาวะดังกล่าว ได้แสดงให้เห็นความสําคัญของบริการของระบบนิเวศ ที่ชุมชนจะต้องอนุรักษ์ฟื้นฟูฐานทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝั่ง รวมถึงป่าบกให้อยู่ในสภาวะสมดุลเพื่อรักษาและเพิ่มขีดความสามารถบริการของระบบนิเวศ การให้ ความสําคัญกบัการพัฒนาอาชีพที่หลากหลายเพื่อเป็นฐานเศรษฐกิจภายในท้องถิ่นสําหรับรองรับภาวะความ ไม่แน่นอนของการพึ่งพาเศรษฐกิจจากภายนอก
การประเมินความสามารถในการตั้งรับปรับตัวของภูมิทัศน์ของชุมชน องค์กรพัฒนาเอกชนและภาคี การพัฒนาในการสัมมนาเพื่อจัดทํายุทธศาสตร์และการดําเนินงานโครงการในภูมิทัศน์อ่าวพังงา มีประเด็นร่วม ที่จะต้องดําเนินการร่วมกันประกอบด้วย การอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติให้มีความสมบูรณ์ สมดุลมากขึ้น
การพัฒนาอาชีพเพื่อสร้างเศรษฐกิจท้องถิ่นให้เป็นฐานสําคญัของการพัฒนาชุมชนเพื่อพร้อมพอรับมือกับวิกฤติ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และการสร้างความเป็นธรรมในการบริหารจัดการทั้งภายในชุมชน ระหว่างชุมชน ภาครัฐและภาคีการพัฒนา
โครงการนี้มีความสัมพันธ์และสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 แผนการปรับตัวต่อผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ แผนยุทธศาสตร์ชาติด้านการเปลี่ยนแปลง สภาพ ภูมิอากาศ และแผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ
โครงการนี้มีความสอดคล้องกับนโยบายการยกระดับโครงการขนาดเล็กโดยชุมชนให้เป็นโครงการที่มี
ผลกระทบระดับประเทศของ GEF SGP ซึ่งเริ่มมาตั้งแต่รอบปฏิบัติการที่ 5 และได้รับความเห็นชอบจาก GEF Council ในปี พ.ศ. 2557 นอกจากนี้ผลลัพธ์ของโครงการยังสอดคล้องกับทิศทางเชิงยุทธศาสตร์ของ SGP ใน รอบปฏิบัติการที่ 6
โครงการนี้ตอบสนองเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดังนี้: เป้าหมายที่ 1 (ยุติความยากจนทุกรูปแบบใน ทุกแห่ง) เป้าหมายที่ 2 (ยุติความหิวโหย บรรลุเป้าหมายด้านความมั่นคงทางอาหาร ภาวะ โภชนาการที่ดีขึ้น และส่งเสริมการเกษตรยั่งยืน) เป้าหมายที่ 13 (ดําเนินการเร่งด่วนเพื่อรับมือกับความเปลี่ยนแปลงทางสภาพ ภูมิอากาศและผลกระทบด้วยการออกกฎหมาย/มาตรการเกี่ยวกับ การปล่อยก๊าซเรือนกระจกและการส่งเสริม พลังงานหมุนเวียน) เป้าหมายที่ 14 (อนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากมหาสมุทร ทะเล และทรัพยากรทางทะเล อย่างยั่งยืน) และเป้าหมายที่ 15 (คมุ้ ครอง ฟื้นฟู และส่งเสริมการใช้ระบบนิเวศทางบก จัดการป่าไม้อย่าง ยั่งยืน ลดพื้นที่ทะเลทราย ชะลอการเสื่อมโทรมของดินและการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ)
โครงการนี้ตอบสนองผลลัพธ์ในกรอบการสนับสนุนของสหประชาชาติในประเทศไทย (UNDAF) ข้อ 1 ส่งเสริมการพฒั นาที่ครอบคลุมและยั่งยืน สร้างความยุติธรรมและลดความไม่เสมอ ภาคในสังคมเพอื่ ให้เกิดการ พัฒนาที่ยั่งยืน
โครงการนี้มีความเชื่อมโยงกับผลผลิตในกรอบแผนยุทธศาสตร์ของ UNDP (2014-2017) ดังต่อไปนี้
ผลผลิตที่ 1.3 มีการพัฒนาแนวทางจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศบริการ การใช้สารเคมี และ การจัดการขยะอย่างยั่งยืน
ผลผลิตที่ 1.4 ยกระดับกิจกรรม/มาตรการด้านการปรับตัวและป้องกันการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศให้ครอบคลุมการพฒั นาทุกด้านที่ UNDP เคยสนับสนุน
ผลผลิตที่ 1.5 มีการปรับใช้มาตรการ/แนวทางที่ยั่งยืนและครอบคลุมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการใช้ พลังงานและการเข้าถึงพลังงานอย่างทั่วถึง (โดยเฉพาะอย่างยิ่งพลังงานทางเลือกที่ไม่ เชื่อมต่อกับระบบไฟฟ้า สาธารณะ)
ผลผลิตที่ 2.5 พัฒนากฎหมาย ระเบียบปฏิบัติ กรอบนโยบายและสถาบนั ที่เอื้อต่อการอนุรักษ์ การใช้ ประโยชน์อย่างยั่งยืน การเข้าถึง และการแบ่งปันผลประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทาง ชีวภาพและระบบนิเวศ ที่สอดคล้องกับข้อตกลงระหว่างประเทศและกฎหมายของประเทศ
๑.๕ ภูมิทัศน์อา่ วพังงากับการบรรลุเป้าหมาย วัตถุประสงค์ และผลลัพธ์ ตามเอกสารกํากับโครงการ
ภูมิทัศน์อ่าวพังงามีความท้าทายและลักษณะเฉพาะที่สําคัญในการเป็นพื้นที่ต้นแบบของการสร้าง ภูมิคุ้มกันและความสามารถในการตั้งรับปรับตัวในระดับภูมิทัศน์ที่อยู่ร่วมกันในอ่าวพังงา ประกอบด้วยลักษณะ พื้นที่ซึ่งเป็นอ่าวขนาดใหญ่ มพี ื้นที่เกี่ยวเนื่องกัน ๓ จังหวัด มีความหลากหลายทางชีวภาพและทรัพยากร ธรรมชาติที่มีความสําคัญเป็นลักษณะเฉพาะถิ่น ชุมชนชายฝั่งในอ่าวพังงามีการใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่งร่วมกันในด้านการประมง การทอ่ งเที่ยว ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาและมีลักษณะร่วม ทางวัฒนธรรม รวมทั้งภาคีการพัฒนาในอ่าวพังงาประกอบด้วย ชุมชน องค์กรพัฒนาเอกชน ภาคธุรกิจ หน่วยงานภาครัฐ ภาควิชาการ ซึ่งมีประสบการณ์ร่วมกันในอนุรักษ์ปกป้องอ่าวพังงาจากการพัฒนาที่ไม่ยั่งยืน
การทํางานร่วมในลักษณะเครือข่าย การรณรงค์ขับเคลื่อนกฎหมายและนโยบาย จึงเป็นต้นทุนสําคัญในการ ขับเคลื่อนโครงการให้บรรลุเปา้หมาย
โครงการขนาดเล็กที่จะดําเนินงานภายใต้โครงการ GEF SGP รอบที่ ๖ ของภูมิทัศน์อ่าวพังงา เป็น โครงการขนาดเล็กที่มียุทธศาสตร์ เป้าหมาย และแผนการดําเนินงานร่วมกัน โดยแต่ละโครงการจะดําเนินงาน เป็นกลุ่มชุมชนในภูมิทัศน์ย่อยที่สําคัญของภูมิทัศน์อ่าวพังงา และมีแผนงานที่จะเชื่อมโยงความร่วมมือระหว่าง โครงการขนาดเล็กระดับชุมชนกับภาคธุรกิจ ภาควิชาการ และองค์กรพัฒนาเอกชนที่มีประสบการณ์ด้าน กฎหมายและนโยบาย จึงเป็นชุดโครงการที่มีพื้นฐานที่ดที ี่จะนําไปสู่การบรรลผุ ลของโครงการ
ยุทธศาสตร์ร่วมของชุดโครงการ คือ การอนุรักษ์ฟื้นฟูระบบนิเวศให้มีความสมดุล การเสริมสร้างการ พัฒนาที่ยั่งยืน เศรษฐกิจและสังคมที่เป็นธรรม คํานึงถึงทกุ กลุ่มคน และการมีส่วนร่วมของหญิงชาย
โครงการขนาดเล็กแต่ละโครงการจะดําเนินงานคลอบคลุม ๔ ด้าน ประกอบด้วย
๑. การเพิ่มขีดความสามารถของระบบนิเวศบริการ
๒.เพิ่มประสิทธิภาพระบบการผลิตที่ยั่งยืน
๓.การพัฒนาอาชีพที่หลากหลาย
๔.การเสริมสร้างระบบการบริหารจัดการที่เป็นธรรม มีประสิทธิภาพและเท่าเทียม โดยการดําเนินงาน
ขององค์กรชุมชนความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคกีารพัฒนา โครงการขนาดเล็กจะดําเนินงานกับกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มชุมชนในภูมทิัศน์ย่อยที่สําคัญของภูมิทัศน์
อ่าวพังงา ประกอบด้วย
๑. กลุ่มชุมชนในเกาะลันตาใหญ่ เกาะลันตาน้อย เกาะกลางรวมถึงชุมชนอูรักราโว้ย อําเภอเกาะลันตา
จังหวัดกระบี่
๒. กลุ่มชุมชนอ่าวศรีบอยา อําเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
๓. กลุ่มชุมชนในพื้นทชี่ ายฝั่งของอําเภอเมือง และอําเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ ๔.กลุ่มชุมชนในพื้นที่ก้นอ่าวพังงา อําเภอทับปุด อําเภอเมือง จังหวัดพังงา ๕.กลุ่มชุมชนในพื้นที่กลางอ่าวพังงา ๓ ตําบลในอําเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา ๖.กลุ่มชุมชนชายฝั่งในอําเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา
๗. กลุ่มชุมชนในอําเภอถลาง อําเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต ๘.พื้นที่คาบเกี่ยวระหว่างแหล่งหญ้าทะเลบริเวณชายฝั่งเกาะภูเก็ตด้านอ่าวพังงาไปยังชายฝั่งทะเล
อันดามันบริเวณหาดไม้ขาว จังหวัดภูเก็ตและอําเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงาซึ่งเป็นพื้นที่อยู่อาศัยและแหล่ง วางไข่ของเต่าทะเล
๙.โครงการที่ดําเนินงานกับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะสองกลุ่มคือ โครงการส่งเสริมบทบาทหญิง-ชาย โครงการชุมชนชาวเล บนเกาะภูเก็ต
แผนการดําเนินงานร่วมในโครงการเชิงยุทธศาสตร์ประกอบด้วย ๑.แผนงานเสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมืออ่าวพังงา ระหว่างชุมชนและภาคีการพัฒนา ๒.แผนงานขับเคลื่อนกฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวข้อง
๓.แผนงานพัฒนาธุรกิจชุมชนโดยความร่วมมือระหว่างชุมชนกับภาคธุรกิจในท้องถิ่น เชน่ การ ท่องเที่ยว อาหารทะเล พืชผักอินทรีย์ เป็นต้น
๔.แผนงานพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรม
โดยที่ชุมชนร่วมกับภาคีการพัฒนาได้กําหนดยุทธศาสตร์ร่วม แผนงานร่วม การกําหนดพื้นที่เป้าหมาย ซึ่งเป็นกลุ่มชุมชนในภูมิทัศน์ย่อยของอ่าวพังงา และการมีแผนงานร่วมในเชิงยุทธศาสตร์ข้างต้นจะทําให้การ ดําเนินงานสามารถบรรลุเป้าหมาย วัตถุประสงค์ และผลลัพธ์ ตามเอกสารกํากับโครงการ
๓.ยุทธศาสตร์การพัฒนาความสามารถในการตั้งรับปรับตัวของภูมิทัศน์ ผลลัพธ์และตัวชี้วัด ความสําเร็จ
๓.๑ แนวทางการพัฒนาภูมิทัศน์
การประเมินความสามารถในการตั้งรับปรับตัวของภูมิทัศน์ตามตัวชี้วัด ๒๐ และการจดั ทําแผนผัง เรดาห์ของภูมิทัศน์อ่าวพังงา ในการประชุมจัดทํายุทธศาสตร์และการดําเนินงานของโครงการขนาดเล็กในภูมิ ทัศน์อ่าวพังงา เมื่อวันที่ ๒๖-๒๗ ตุลาคม ๒๕๖๓ พบว่า
ในพื้นที่ภูมิทัศน์อ่าวพังงามีพื้นที่ภูมิทัศน์ยอ่ยซึ่งมีทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งรวมทั้งป่าต้นน้ําที่ สําคัญซึ่งจําเป็นต้องได้รับการอนุรักษ์คุ้มครองและจัดระบบการบริหารจัดการโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน องค์กรพัฒนาเอกชนในท้องถิ่น และภาคีการพัฒนาที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย ป่าต้นน้ํา ป่าชายเลน ป่าจาก ป่า สาคู หญ้าทะเล เป็นแหล่งทอี่ ยู่อาศัยของพะยูน เต่าทะเล โลมา นกเงือก เหยี่ยวแดง ค้างคาว เป็นต้น ปัจจุบัน ทรัพยากรธรรมชาติมีความสมบูรณ์อยู่ในระดับดีมีความเสื่อมโทรมในบางพื้นที่ บริการของระบบนิเวศด้าน อาหาร อาชีพการประมง การท่องเที่ยว และกําลังลมมรสุม อยู่ในระดับที่เพียงพอที่จะเลี้ยงดูคนในชุมชนและมี เหลือที่จะนําไปขายเป็นรายได้ ในอนาคตมีความเสี่ยงที่ระบบนิเวศจะเกิดความเสื่อมโทรมหรือถูกทําให้ เสียหายเนื่องจากกิจกรรมการพัฒนาเช่น การท่องเที่ยว การก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน เป็นต้น จึงมีความ จําเป็นต้องอนุรักษ์ฟื้นฟูให้ระบบนิเวศมีความสมบูรณ์มากขึ้นรวมทั้งการวางระบบคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติ จากความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
ด้านเศรษฐกิจและอาชีพ ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด ๑๙ ทําให้เศรษฐกจิ ด้านการ ท่องเที่ยวซึ่งเป็นเศรษฐกิจสําคัญของชุมชนในภูมิทัศน์อ่าวพังงาได้รับผลกระทบจากการต้องปิดให้บริการการ ท่องเที่ยวในช่วงเดือนมีนาคม ถึง มิถุนายน ๒๕๖๓ การลดลงของนักท่องเที่ยวชาวไทย รวมทั้งการที่ไม่มี นักท่องเที่ยวจากต่างประเทศไปจนถึงปี ๒๕๖๔ ส่งผลให้คนในชุมชนมีรายได้ลดลง ถูกเลิกจ้างงาน ราคาสินค้า ประมงลดลง ชุมชนจึงจําเป็นต้องมีการปรับตัวด้วยการสร้างอาชีพที่หลากหลายขึ้น พงึ่ พาอาหารจากบริการ ของระบบนิเวศมากขึ้น พัฒนาระบบเศรษฐกิจของท้องถิ่นให้เข้มแข็งขนึ้ พี่งพาภายนอกน้อยลง รวมทั้งวาง ระบบการจัดการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนบนฐานความสมดุลของระบบนิเวศ เพื่อรับการกลับมาของนักท่องเที่ยวใน อนาคต
ด้านองค์ความรู้ที่สืบต่อมาของชุมชนจําเป็นต้องได้รับการพัฒนาให้ตอบรับกับการพัฒนาเศรษฐกิจ ท้องถิ่น การตั้งรับปรับตัวต่อความเปลี่ยนแปลงอันเกี่ยวเนื่องกับการพัฒนา ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ด้านความเป็นธรรมในการพฒั นา โดยภาพรวมอยู่ในระดับดี แต่มีแนวโน้มที่จะลดลงเนื่องจาก กฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้ความสําคัญกับ การมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนน้อยลง โดยชุมชนต้องพัฒนาระบบการกระจายความเป็นธรรมในการ พัฒนา การสร้างการมีส่วนร่วมของทุกส่วนภายในชุมชน ควบคู่กับการจัดระบบความสัมพันธ์กับภาครัฐให้มี ความเป็นธรรมในการอนุรักษ์ฟื้นฟูและใชป้ ระโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน สมดุล และเป็นธรรม
ภูมิทัศน์อ่าวพังงา มีชุมชนชาติพันธุ์ดั้งเดิมอยู่อาศัยประกอบด้วย ชุมชนอูรักราโว้ย มอแกน และมอ แกลน ซึ่งด้วยข้อจํากัดทางชาติพันธุ์ทําให้ชุมชนเหล่านี้ไม่ได้รับความเป็นธรรมในการพฒั นาในด้านที่ดินซึ่งเป็น ที่ต้องชุมชน พื้นที่ทางวัฒนธรรม และการประกองอาชีพด้านการประมงซึ่งเป็นอาชีพดั้งเดิมของชุมชน ดังนั้น โครงการจึงจะมีการดําเนินงานเฉพาะกบั ชุมชนนี้ ประกอบด้วย การจัดทําโครงการเสริมสร้างความสามารถ ของชุมชนในพื้นที่เกาะภูเก็ต และการสร้างเครือข่ายความร่วมมือของชุมชนชายฝั่งในเกาะลันตาใหญ่
๓.๒ เป้าหมายระยะยาวของภูมิทัศน์ คือการเสริมสร้างความสามารถในการตั้งรับปรับตัวทางสังคม เศรษฐกิจ และระบบนิเวศโดยชุมชนเป็นฐาน ภายใตย้ ุทธศาสตร์ร่วมของชุดโครงการ คือ การอนุรักษ์ฟื้นฟู ระบบนิเวศให้มีความสมดุล การเสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน เศรษฐกิจและสังคมที่เป็นธรรม คํานึงถึงทุกกลุ่ม คน และการมีส่วนร่วมของหญิงชาย
๔.โครงการที่ดําเนินการโดยชุมชนและเกณฑ์ในการคัดเลอืกโครงการประกอบด้วย
๔.๑ เป็นโครงการที่ดําเนินงานโดยชุมชนหรือองค์กรพัฒนาเอกชนในท้องถิ่นโดยการมีส่วนร่วมของ ชุมชน
๔.๒ เป็นโครงการที่มียุทธศาสตร์ เป้าหมายระยะยาว และเป้าหมายเฉพาะระยะการดําเนินงาน โครงการสอดคล้องกับเป้าหมายและยุทธศาสตร์ที่เครือข่ายพหุภาคีในภูมิทัศน์อ่าวพังงาได้ร่วมกันกําหนด
๔.๓ เป็นโครงการที่ดําเนินงานโดยความร่วมมือระหว่างชุมชนในระบบนิเวศย่อยที่สําคัญของภูมิทัศน์ อ่าวพังงาจํานวน ๘ นิเวศย่อย หรือเป็นโครงการที่ดําเนนิ งานกับกลุ่มชาติพันธุ์ชาวเล หรือเป็นโครงการที่มุ่ง ส่งเสริมการเพิ่มความสามารถของสตรีในการมีบทบาทอย่างมีความหมายในการขับเคลื่อนการตั้งรับปรับตัวใน ภูมิทัศน์อ่าวพังงา
๔.๔ เป็นโครงการที่ได้พิจารณาอย่างรอบด้านที่จะให้ความสําคัญกับการบรรลุผลลัพธ์ของ SEPLS
๔.๕ เป็นโครงการที่องค์กรชุมชนหรือองค์กรพัฒนาเอกชนผู้เสนอโครงการตระหนักและให้ ความสําคัญในการร่วมพัฒนาเครือข่ายภูมิทัศน์อ่าวพังงา การพัฒนานโยบายและความรว่ มมือกับภาครัฐ
๔.๖ ตัวอย่างโครงการตามเกณฑ์ข้างต้น เช่น โครงการเสรมิ ศักยภาพชุมชนในการบริหารจัดการและ การพัฒนาอย่างยั่งยืนในระบบนิเวศเกาะลันตา หรือระบบนิเวศเกาะยาว หรือระบบนิเวศอ่าวพังงาตอนใน หรือโครงการส่งเสริมบทบาทของหญิงและชายในการบริหารจัดการภูมิทัศน์อ่าวพังงา หรือโครงการสร้างความ เป็นธรรมในการพัฒนาของชุมชนชาติพันธุ์ชาวเล เป็นต้น
๕.แผนการติดตามและประเมินผลระดับภูมิทัศน์ประกอบด้วย
๕.๑ การจัดทําฐานข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติ ระบบเศรษฐกิจของชุมชน ในระยะเริ่มตน้ โครงการ เพื่อให้โครงการขนาดเล็กนําไปใช้ในการติดตามความก้าวหน้าและประเมินผลการดําเนินงานโครงการ รวมทั้ง ใช้เป็นฐานข้อมูลในการประเมินผลโครงการในระดับภูมิทัศน์
๕.๒ การพัฒนาระบบการติดตามประเมินผล และการจัดทําตัวชี้วัดโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อให้โครงการขนาดเล็กนําไปใช้ในการบันทึกข้อมูลความก้าวหน้า การจัดทํารายงาน และการติดตาม ประเมินผลโครงการ
๕.๓ การจัดประชุมเพื่อนําเสนอความก้าวหน้าของโครงการขนาดเล็กในช่วงกลางของการดําเนิน โครงการและระยะก่อนสิ้นสุดโครงการ เพื่อสร้างการเรียนรู้ร่วม ปรับปรุง และพัฒนาการดําเนินงานร่วมกัน
๖.แผนการจัดการความรู้ระดับภูมิทัศน์ จําแนกเป็น ๓ ส่วนคือ
๖.๑ การจัดการความรู้จากการดําเนินงานของโครงการขนาดเล็ก ในระยะเริ่มต้นการดําเนินงาน โครงการขนาดเล็กแต่ละโครงการจะกําหนดกรอบและแผนงานในการจัดการความรู้ที่เกิดจากการดําเนินงาน ของโครงการ โดยมีการจัดทํารายงานชุดความรู้เป็นระยะและมีการนําเสนอแลกเปลี่ยนร่วมกันในเครือข่ายภูมิ ทัศน์ ก่อนสิ้นสุดการดําเนินงานโครงการจะได้ชุดความรู้ร่วมในระดับภูมิทัศน์อ่าวพังงา
๖.๒ การเลือกกรณีศึกษาจํานวน ๑๐ กรณใี ห้คลอบคลุม ๔ ด้านของ SEPLS เช่น การอนุรักษ์ฟื้นฟู ระบบนิเวศป่าชายเลน การอนุรักษ์ฟื้นฟูระบบนิเวศหญ้าทะเล การอนุรกั ษ์และบริหารจัดการชายหาดซึ่งเป็น พื้นที่วางไข่ของเต่าทะเลโดยชุมชน การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนจากผึ้ง การพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน การ พัฒนาระบบธุรกิจชุมชนโดยความร่วมมือกับภาคธุรกิจในท้องถิ่น เป็นต้น
๖.๓ องคค์ วามรู้จากการดําเนินงานโครงการขนาดเล็กในระดับภูมิทัศน์อ่าวพังงา และชุดความรู้จาก กรณศี กึ ษาจะสามารถสงั เคราะห์ และยกระดับเป็นชุดความรู้และบทเรียนเพื่อนําไปใช้พัฒนาโครงการหรือ กจิกรรมเสรมิสร้างความสามารถของชุมชนและการบริหารจัดการภูมิทัศน์เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนและการ ปกป้องสิ่งแวดล้อมโลกในระยะต่อไป
Phang Nga Bay Landscape
Landscape strategy for enhancing resilience capacity of socio-economic and ecological system: Phang Nga Bay, Thailand
Phang Nga Bay is located in Andaman Sea coast or the south west coast of Thailand. It is connected area between Krabi Phang Nga and Phuket provinces. The sea ethnic group are Moken Moklen and Urak Lawoi which live in Krabi and Phuket
Phang Nga Bay consists of coastal areas beaches islands seagrass mangroves canals and rivers flow from mountain to the sea very high biodiversity it is a significant wetland in all local level, national level, and international level. For example, Krabi Estuary is a habitat of dugongs dolphins and sea turtles. Also it is an important resource base in economic for Andaman tourism which has world top attractions such as Koh Lunta, Koh Phi Phi, Koh Yao, and Phuket island a major fishing area for coastal communities who fish as a main occupation as well as food source extra income for communities The Covid-19 pandemic situation has affected on Andaman’s tourism to shut down in tourist season between March and June 2020 include situation with no foreign tourists traveling all year round continue at least until quarter two of 2021 This has affect on communities with tourism business and economy was in recession for economic growth so people in coastal communities has adapted their occupation to do fishing and gleaning it is clearly see that marine resource base is a significant factor to support communities from economic crisis it is an ecosystem services crucial for life
Long term goal of Phang Nga Bay landscape is to strengthen adaptive capacity community based in social, economic, and ecosystem the strategy of project is ecosystem conservation and restoration, strengthen sustainable development, fair economy and society, considering of every member, and equality of women and men consist of small project and strategy project.
The small unit project is operated by community and Non-Governmental Organization which work with targeted group of communities in important sub-landscape of Phang Nga Bay landscape consist of community groups in Mu Koh Lunta, Sriboya bay, coastal area of Phang Nga bay in Krabi and Phang Nga province, Mu Koh Yao in Phang Nga bay, Koh Phuket, and the Andaman coast which is sea turtle nesting area. Moreover, there is operation in supportive gender equality and sea ethnic community which add up to 8 important ecological units in Phang Nga bay landscape. Each of small unit project will cover 4 areas which are Strengthening ecosystem service, Enhancing sustainable production, various career development, and reinforcement of good governance.
The strategy project connects each works of small unit projects covering strengthen plan of Phang Nga bay network, supportive laws and policies, community business development cooperates between community and local business sector, and knowledge and innovation development.
The results and indicators of the project is to achieve target framework and results of the project operation in GEF SCG 6th capital round in Thailand under the strategy of enhancing the adaptive capacity of landscape-level areas for sustainable development and protecting the global environment.
1. Description of Phang Nga Bay landscape
1.1 location and boundary of Phang Nga bay landscape
Phang Nga Bay is located in Andaman Sea coast or the south west coast of Thailand. It is connected area between Krabi Phang Nga and Phuket provinces.
The border lines in Krabi consists of: At the southside of Phang Nga estuary is Koh Lunta Yai, Koh Lunta Noi, Koh Klang in Nuea Khlong district. The inner side of the bay consists of coast and island in Khlong Thom district, Koh Sriboya in Nuea Khlong district, Koh Klang in Mueang district and Ao Luek district.
The border lines in Phang Nga province which is located at the bottom of Phang Nga bay consists of coast and island in Thap Put district, Mueang Phang Nga district, and Takua Thung district.
The border lines in Phuket province which is located at the northside of estuary compose of Thalang district and Mueang Phuket district. Since ecosystem of Phang Nga bay is connected to Andaman sea which is a habitat of sea turtles and their nesting area is placed around Phuket island and the coast in Phang Nga province. In the conservation of Phang Nga bay seminar has agreement to expand the boundary in Phang Nga bay in order to cover the nesting area of sea turtles at Mai Khao beach in Hat Mai Khao sub-district Thalang district Phuket province, Ban Thap Yang in Tai Mueang sub-district, Ban Tha Din Daeng in Lam Kaen sub-district, Ban Khuk Khak in Khuk Khak sub-district Takua Pa district Phang Nga province
Phang Nga bay landscape has sea ethnic groups that should particularly pay attention on which are Moken, Moklen, and Urak Lawoi, who live in Krabi and Phuket.
1.2 Significant characteristics, issues, and strengths or advantages of Phang Nga bay landscape
Phang Nga Bay consists of coastal areas beaches islands seagrass mangroves canals and rivers flow from mountain to the sea very high biodiversity it is a significant wetland in all local level, national level, and international level. For example, Krabi Estuary is a habitat of dugongs dolphins and sea turtles. Also it is an important resource base in economic for Andaman tourism which has world top attractions such as Koh Lunta, Koh Phi Phi, Koh Yao, and Phuket island a major fishing area for coastal communities who fish as a main occupation as well as food source extra income for communities The Covid-19 pandemic situation has affected on Andaman’s tourism to shut down in tourist season between March and June 2020 include situation with no foreign tourists traveling all year round continue at least until quarter two of 2021 This has effect on communities with tourism business and economy was in recession for economic growth so people in coastal communities has adapted their occupation to do fishing and gleaning it is clearly see that marine resource base is a significant factor to support communities from economic crisis it is an ecosystem services crucial for life
In the past, Phang Nga bay has suffered from the deterioration of natural resources as a result of Thai government’s concession in mangrove forest. Moreover, Overfishing and destructive fishing threaten sea grass meadow and coral reefs. Also, tourism development grew rapidly has affected on forest and sea area invasion and coral destruction.
The deterioration of marine and coastal resources has impacted on the socioeconomic of coastal communities so mangrove and seagrass conservation group has established to resist mangrove deforestation to get rid of illegal fishing gear and change fishing method to be responsible and sustainable. Expansion of Phang Nga bay and coastal fisheries zone to protect marine resources and communities which has faced the damage from Tsunami incident were implemented restoration plan for communities after impact from Tsunami. Consequently, coastal communities in Phang Nga bay have experiences in restoration and conservation of natural resources. Collaboration with government, development parties, having campaigns in laws and policies, occupations development, and having local NGOs to conserve natural resources continuously. These people and organizations as listed are the major power of operating this project. In addition, this project is coordinated with local business people who have the concept of sustainable development and good governance in development to participate in strengthen Phang Nga bay landscape and enhance business development in tourism with local communities also increasing the value and quality of seafood and processing community product.
Between March 2020 until now and expected to continue through mid-2021, the community has suffered from the covid-19 pandemic situation, resulting in a severe economic recession, especially Phuket and Krabi which are tourist attractions from overseas. The communities have adapted from relied on tourism economy to fisheries and reliance on the sea and coastline. This condition has demonstrated the importance of ecosystem services that communities must conserve and restore marine and coastal resources, including conserving terrestrial forests in order to maintain and enhance the capacity of ecological services. Nevertheless, focusing on developing a wide range of occupations for local communities’ base, supporting the uncertainty of external economic dependence.
Assessment of the adaptive capacity of the community landscape NGOs and development parties in seminars to prepare strategic and operational projects in the Phang Nga Bay landscape. There are common issues that need to be addressed together: Conservation of natural resources to be more fertile and balanced. Career development to build the local economy as a base for community development to be ready to cope with future crises and to create good governance in management both within the community, between communities, government and Development Parties
The Phang Nga bay landscape has significant characteristics in being a model area to set up adaptive capacity at the landscape level in Phang Nga bay. It consists of a large bay area connecting 3 provinces with biodiversity and specific natural resources. Coastal communities in Phang Nga bay share the utilization of marine and coastal resources in fisheries and tourism. Most of people in communities are Muslims and have their culture. Members of Phang Nga bay development compose of: community, NGOs, business sectors, government, and academic sectors which have experience in conserving and protecting Phang Nga bay from unsustainable development. Working as a network and campaigning laws and policies are important part to achieve the goals in this project.
A small project that will operate under the 6th round action of GEF SGP project of the Phang Nga bay landscape is a small project with strategies, targets, and action plan by each of small project will operate as a community group in the important sub-landscape of the Phang Nga bay landscape and have a plan to cooperate between a small project community level with business sector, academic sector, and NGOs with experienced in laws and policies. Therefore, it is a set of projects that have a good foundation to contribute to achieve goals of the project.
The strategy of the project set is to conserve and restore ecosystem, strengthening sustainable development, good governance in economic and society, considering of every member, and equality of women and men
Each small project will operate in 4 areas consisting of:
Strengthening ecosystem service
Enhancing sustainable production
Various career development and income generation opportunities
Reinforcement of good governance efficiency and equality operating by community organization and cooperation with local government and development parties
The small projects will be carried out with a community groups in significant sub-landscape of the Phang Nga bay landscape consists of:
1. Community groups in Koh Lanta Yai, Koh Lanta Noi, Koh Klang also Urak Lawoi community, Koh Lanta district, Krabi
2. Community group in Sriboya bay, Nuea Khlong district, Krabi
3. Community group in the coastal area of Mueang district and Ao Luek district, Krabi
4. Community groups at bottom area of Phang Nga bay in Thap Put district, Mueang district, Phang Nga
5. Community groups in the middle of Phang Nga bay 3 sub-districts in Koh Yao district Phang Nga
6. Coastal community groups in Phang Nga bay Takua Thung district, Phang Nga
7. Community groups in Thalang district and Mueang Phuket district, Phuket
8. The area overlaps between seagrass meadow on the coast of Phuket island Phang Nga bay side to the Andaman coastaline at Mai Khao beach, Phuket province and Tai Mueang district, Phang Nga province which is habitat and nesting area of sea turtles
9. The project that operates with two specific target groups are female and male role project and community of sea ethnic on Phuket island project
The implementation plan in the strategic project consists of:
1. Plan to strengthen Phang Nga Bay Cooperation Network between Community and Development Parties
2. Plan to support relevant laws and policies
3. Community business development plan by cooperation between local communities and business sectors such as tourism, seafood, organic vegetables
4. Knowledge and innovation development plan
The community and the Development Party have set out a joint strategy and targeting the targeted areas of communities in the sub-landscape of Phang Nga Bay, and having a joint strategic plan above will enable the implementation to achieve goals, objectives, and results according to the project documents.
2. Situation Analysis
2.1 Methodology
Selection process of sub ecosystem landscape areas in Phang Nga bay by consultations with representatives of local NGO, businesspersons, government partnership, and community organizations to review the strategy and set out a framework for small projects. Within the framework of the consultative meetings, the participants worked with SEPLS indicators, and other tools used to mobilize participation including mapping of natural resources and communities in sub ecosystem Phang Nga bay landscape, Assessment of the adaptability of the landscape according to 20 indicators and the preparation of radar chart to analyze the current condition, design 10-year goal of Phang Nga bay landscape, design 2-year goal of sub ecosystem in Phang Nga bay landscape, Analysis of the limitations and potential to be achieved in 2 years, and design the results and activities to create the 18-month project. Moreover, 12 meetings consisting of 6 meetings in Krabi, 3 meetings in Phang Nga,2 meetings in Phuket, and 1 meeting for development projects of the participation of female and male of representatives in sub ecosystem in Phang Nga bay landscape areas were held. Each meeting had participants around 20-30 people total of participants in all meetings were 303 people, 145 people were female and had village chief and local administrative organizations participated.
Participants of the landscape strategy Phang Nga bay meeting, held on 27-28 October at Phang Nga
Consultation meeting of local stakeholders in one of sub ecosystem landscape areas.
2.2 Results of Baseline Analysis
2.2.1 Community groups in Koh Lanta Yai, Koh Lanta Noi, Koh Klang
Landscape diversity and ecological protection currently at 3.75. In the future, it can reach level 4. The biodiversity in the present is 3.6% but has enough potential to evolve to 4.67% in the future. Knowledge and innovation side is quite mild but in the next 10 years10 equipment can be used to help develop more. Good Governance and Social Equality are currently at level 3.1 In the future, there will be cooperation from many sectors to help development For livelihoods and well-being, in the future they will expand the framework to a level 4.
2.2.2 Community group in Sriboya bay, Nuea Khlong district, Krabi
Landscape diversity on Sriboya Island is diverse for both animals and plants as a food source. In the next 10 year, predicted it will reach level 4 which depends on the subconscious of the community. Biodiversity currently scores as 3, In the future will improve with the right development tools. Current score for knowledge and innovations is 3.25. In the future, if funds are provided to youths and villagers and cooperation from many sectors will improve this side. Good Governance and Social Equality Currently quite good. Looking at the work of women and men Women will play a greater role. Livelihoods and well-being Nowadays, it is not in a good shape. Helping to promote a stable and sustainable career so in the next 10 years, livelihoods and well-being will improve.
2.2.3 Community group in the coastal area of Mueang district and Ao Luek district, Krabi
Diversity of landscape and ecological protection is currently at 3.8 and it will score up to 4 in 10 year because there is a lot of diversity in the area and also the increase of career diversity as well. Biodiversity side, agriculture in the area plants more mixed crops. Economy in the household gets better. Increase consumption of local vegetables. Knowledge and culture of older generations about fishing tools are gradually disappearing into the younger generation. Governance and Social Equality Women play a huge role. Started having directors as women. There are laws and regulations in use. Livelihood and Well-being Social and environment is decreased because not enough natural resources to utilize. More management needs to be made.
2.2.4 Community groups at bottom area of Phang Nga bay in Thap Put district, Mueang district, Krabi
The ecological diversity of these two areas are similar. Mainly is mangrove forest which will increase mangrove forest area in 10 years. Biodiversity is now quite abundant. There are a lot of fish in the area so local people can use this as a food source because the number of tourists is declining. Finding new ways to increase income. Knowledge and innovation must improve, these 2 districts are not good in giving knowledge to villagers. Help is required from government sectors. Governance and Social Equality, two districts are writing the laws about using natural resources in the sea and forests. Livelihood and well-being, 90% household land in these two districts have no title deed. Seeking for help from government sectors to solve the problem. In the next 10 year knowledge and innovation Governance and Social Equality And livelihood and well-being all need to improve because villagers lack knowledge. Educate villagers to help develop an ecosystem which is connected to tourism and livelihood of villagers. Ecological diversity and biodiversity must be emphasized because it involves a livelihood in the community.
2.2.5 Urak Lawoi community, Koh Lanta district, Krabi
Area diversity, most of the area is by the sea. There are problems about household habitat and career. Biodiversity side, lifestyle of people use a modest pattern, catch fish just enough to eat and save small amounts to sell. Sustainable fishing style. Livelihood and innovation, learning to pass on knowledge to next generation people to be more knowledgeable. Today's governance and equality are moderate, which in the future can create greater equality. Livelihood and well-being is relatively low. In the future, this aspect must be improved. Increased habitat for better well-being
2.2.6 Coastal community groups in Phang Nga bay Takua Thung district, Phang Nga
Landscape diversity of Takua Thung district today is very good because of the mangrove forest area and fertile marine resources. But in the next 10 years, it will be less diverse because there will be more tourists. Biodiversity is currently well-qualified but, in the future,, it will be slightly regression, but it can also be solved by the villagers in the community. Today's knowledge and innovations are quite good. In the future, knowledge will go down because marine resources might decrease and younger generations may develop knowledge less than older generations because too much technology. Governance and Social Equality currently, it is well qualified. In the future, females may play a greater role than males, causing slight inequality. Livelihoods and well-being currently, the post-COVID situation is quite bad. Both in fisheries and tourism. In the future, supported by government sectors can help to increase the likelihood of creating more careers. For example, the government supports the making of crab banks.
2.2.7 Community groups in Thalang district and Mueang Phuket district, Phuket
Diversity of landscape and the system to take care of diversity may not be thorough. In the future, it is likely to be reduced further. The biodiversity of the present is quite good. Knowledge and innovation have knowledge of the old generation but in the future, new technologies and knowledge can be improved. Online media is available to help increase knowledge. Governance and equality are well qualified. And in the future, the equality framework can be expanded even further. The aspects of livelihood and well-being are currently scored at 3. In the future, it is possible to improve well-being.
3. Landscape Strategy
3.1 Guidelines for landscape development
Evaluation of ability to adapt capacity of landscape with 20 indicators and make radar diagrams of the Phang Nga bay landscape at the meeting of the strategic preparation and operation of small projects in Phang Nga bay landscape on 26-27 October, it was found that
Sub-landscape areas in Phang Nga bay landscape have marine and coastal resources as well as upstream forests which are necessary to be protected and conserved by community, local NGOs, and related development members. These areas compose of watershed forest, mangrove forest, Nipa palm, Saku tree forest, and seagrass which all of these are habitat of dugongs, sea turtles, dolphins, hornbills, red hawks, and bats. At present, natural resources are in good level of fertile but has degraded in some areas. Ecosystem services in food, fishing, tourism, and monsoon are all sufficient to take care of people in community and have extra resources to make an income. In the future, there is a risk that the ecosystem will be degraded or damaged due to development in tourism and coal power plant. Therefore, it is necessary to preserve the ecosystem and to protect natural resources from risks in the future.
In economy and career, the impact from Covid-19 pandemic has affected on tourism business which are a significant business in Phang Nga bay community to cause the closure of tourism services between March and June 2020. Decreasing in number of Thai tourists and absence of foreign tourists until 2021 has resulted in reduction of income for people in the community, lay-off from work, and decrease in seafood price. So, the communities need to adapt by creating more various occupations, depend more on food from ecosystem services, strengthen in local business development and less rely on outside business also managing sustainable tourism on ecosystem base prepare for return of tourists in the future.
Knowledge in community, passing on generation to generation has to be developed to conform with local economic development. Nevertheless, adaptation of changes in development, Information and Technology, and climate change.
Good governance in development, overall is in a good picture but tends to be reduced due to the laws and policies related to natural resources and environment management by less focus on community’s participation so people in communities have to improve good governance in development system. To create participation of all parts within community along with manage system with government in conservation restoration and utilize natural resources sustainably.
Phang Nga bay landscape has sea ethnic community consist of Urak Rawoi, Moken, and Moklen communities. With ethnic constraints, these communities are not receiving the right in land development which is cultural area and fishing as a traditional occupation of the communities. Therefore, the project will specifically operate with this community including plan to strengthen the capacity of the community in Phuket island area and create network between coastal communities in Koh Lunta Yai.
3.2 The long-term goal of the landscape is to strengthen the adaptive capacity in society, economic, and community-based ecosystem under co-strategy of the projects which are conservation and restoration of ecosystem to be balanced, strengthening sustainable development, good governance in economic and society, considering of every member, and equality of women and men
Expected outcomes and indicators of projects
Outcome 1: 7 important ecological units in Phang Nga bay landscape and the habitat of dugongs and sea turtles have been restored and conserved, enhancing the capacity of the ecosystem service, consisting of seagrass meadow, mangrove forest, corals, marine biomass, biodiversity, upstream forests and prevent environmental pollution from marine litter.
Indicator 1.1: Conservation and restoration of seagrass fields of at least 3,500 rai
Indicator 1.2: Mangrove Forest, Nipa palm, and Saku forest conservation and Restoration at least 12,000 rai
Indicator 1.3: To do crab bank, artificial fish apartment, shell conservative area to conserve and restore sea animals at least 60 areas
Indicator 1.4: Management of terrestrial forest and beach forest in 5 areas
Indicator 1.5: Write the rules to manage ecosystem in communities at least 40 communities
Indicator 1.6: Management of turtles spawning area at least 5 communities
Outcome 2: The development and enhancement of sustainable production systems consists of the development multilayer cropping system, organic agriculture, free from pesticides or herbicide which have effect on ecosystem, aquaculture breeding conservation for food security, responsible and sustainable fisheries such as suitable fishing gear specify size of fish for fishing.
Indicator 2.1: Organic farm, mixed garden, and integrated farming at least 500 Rai
Indicator 2.2: At least 40 communities have established sustainable fishing rules.
Outcome 3: Create a various career on the basis of a balanced ecosystem and a local economy in order to be ready for the economic crisis from the Covid-19 pandemic, climate change and other emerging diseases that will occur in the future. By operating cooperation between the community and the business sector such as community tourism, sustainable fisheries, seafood processing product, Bee processing product, and shrimp paste, etc.
Indicator 3.1: At least 20 communities have been established groups to develop careers.
Outcome 4: Community organizations have good governance in the management system. Development that creates fairness for all groups. Women play a meaningful role in development.
Cooperating partnerships with the development sector to improve community regulations, local government organizations, and state the policies to facilitate for sustainable and development, especially for sea ethnic groups.
Indicator 4.1: Women have a role in community development and management in at least 20 communities.
Indicator 4.2: community organization and community leader have ability to manage 40 community organizations
3.3 The main results and indicators of the Phang Nga bay landscape include:......พาร์ทนี้แต้เติม/ปรับเองค่ะ
4. Typology of Community-managed projects and criteria for project selection include: …..แต้จะเขียนเพิ่มให้ค่ะ
4.1 It is a project run by a local community or NGOs through community participation.
4.2 It is a strategy project, long-term goals, and specific targets for project operations are in line with the goals and strategies that multilateral networks in the Phang Nga bay landscape have jointly established.
4.3 It is a project conducted in collaboration between communities in the 7 critical sub-ecosystem of the Phang Nga Bay landscape, or as a project that works with the sea ethnic group, or as a project aimed to promote women to play a meaningful role in enhancing adaptation in the Phang Nga bay landscape.
4.4 It is a project that has been carefully considered to achieve SEPLS results.
4.5 It is a project that community organizations or NGOs who have proposed to pay attention on development of the Phang Nga bay landscape and policy development and cooperation with the government
4.6 Examples of projects based on the above criteria, such as enhance community potential in management and sustainable development in Koh Lunta, Koh Yao, Ao Phang Nga ecosystem project, or promoting the role of women and men in the management of phang nga bay landscape project, or to create fairness in the development of the sea ethnic community of project.
5. The landscape monitoring and evaluation plan consists of:
5.1 Monitoring and Evaluation at the Landscape level
Operate database for natural resources and community economic system in the early stages of the project as guideline for small projects to track the progress and evaluate project performance. The development of monitoring system and the preparation of indicators by participation of community, so that small projects can be used to record progress, reporting, monitoring, and evaluating the projects. Moreover, arrange the meeting to present the progress of small projects in the middle of the project and the phase before the end of the project to create the learning, improvement, and development of corporate operations.
5.2 Monitoring and Evaluation at the Project level
Using individual projects as a database to develop M&E framework for Project level that has indicators parallel to Landscape strategy outcomes and indicators. The project team will also arrange the progress meeting during the project and before the end of the project to achieve the goals.
6. Managing knowledge at the landscape level plan divided into 3 parts:
6.1 To develop a concrete and innovative KM plan and strategy for the country program’s and GEF’s visibility and knowledge sharing innovation
Knowledge management from the operation of small projects in the initial stage of small project operations
Each project will define a framework and roadmap for managing the knowledge generated by the implementation of the project.
Write the knowledge management report in several phases and exchange with the landscape network.
Prior to the end of operation, the project will be a combination of knowledge at the Phang Nga bay landscape level.
6.2 To maximize highest impact of project implementation in upscaling and replication; and to build a knowledge sharing network
Selection of 10 case studies to cover 4 aspects of SEPLS such as restoration and conservation of mangrove ecosystems, conservation of seagrass ecosystem, conservation and management of the beach which is the spawning area of sea turtles by the community, community product development from bees, community tourism development, and development of community business system cooperation with local business sectors, etc.
6.3 To ensure that visibility and dissemination of good practices and lessons learnt will be carried out
The knowledge from the implementation of small projects in Phang Nga bay landscape level and the knowledge set from case studies can be synthesized and upgraded into a series of knowledge
Using lessons and knowledge to develop projects or activities, strengthening the capacity of the community and managing the landscape for sustainable development and protecting the global environment in the future.
11
Projects
50
Villages
200
Total area / sq km